วันอาทิตย์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2565

หมากเตี้ยพันธุ์แท้ ขายพันธุ์หมากเตี้ย ขายลูกแก่หมากเตี้ย ต้นกล้าหมากเตี้ย ราคาถูก โทร 0808713258 ไลน์ 0808713258

ขายพันธุ์หมากเตี้ย แท้
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ยแท้
ขายต้นกล้าหมากเตี้ย พันธุ์หมากเตี้ย 
ลูกใหญ่ กินได้ ต้นเตี้ย ราคาถูก 
หน้าเต็ม ราคาถูก รับประกันความพอใจ 
เป็นหมากใช้รับประทานได้ รสชาติดี
ปลูกขายเป็นพืชเศรษฐกิจ
ขายเป็นอาชีพเสริมได้
ต้นกล้าหมากเตี้ย
ต้นหมากเตี้ย
กล้าหมากเตี้ย
พันธุ์หมากเตี้ย
ลูกหมากเตี้ย
ขายลูกหมากเตี้ย
ขายลูกแก่หมากเตี้ย
ขายลูกแบบงอก
ขายต้นแบบหางปลาทู
ขายต้นแบบแตกสองใบ
ขายต้นหมากเตี้ยพร้อมลงดินแตกสามใบ
ลูกแก่หมากเตี้ยพันธุ์แท้ พร้อมเพาะปลูก
หมากเตี้ยกินได้รสชาติดี
ขายได้ทั้งหมาก อ่อน หมากแก่ หมากแห้ง 
แปรรูปส่งนอกได้ รับประกันคุณภาพ
เก็บจากสวนหมากเตี้ยที่ปลูกไว้
ราคาไม่แพงรับประกันคุณภาพ
โทร  0808713258
line 0808713258


หมากเตี้ย ขายพันธุ์หมากเตี้ย ขายลูกแก่หมากเตี้ย
หมากเตี้ยที่สวนเป็นพันธุ์เกรด A
หมากเตี้ย
หมากเตี้ยพันธุ์แท้ 
 ขายพันธุ์หมากเตี้ย 
ขายลูกแก่หมากเตี้ย 
ขายต้นกล้าหมากเตี้ย  
เยี่ยมชมเวปไซต์ได้จ้า

โทร  0808713258
line - 0808713258

ขายพันธุ์หมากเตี้ย จำหน่ายต้นหมากเตี้ยพร้อมลงดิน ปี2565 

ภาพบรรยากาศที่สวน



หมากเตี้ยต้นพร้อมลงดิน 



หมากเตี้ยต้นพร้อมลงดิน 





เป็นต้นพันธุ์หมากเตี้ยแท้ทุกต้น

พาเก็บหมากเตี้ย ต้นนี้สามปีออกลูกครั้งแรกยืนเก็บได้







สามปีออกลูกยืนเก็บได้ 100 %




สามปีออกลูกยืนเก็บได้ 100 %

เยี่ยมชมเวปไซต์ได้จ้า

โทร  0808713258
line  0808713258

ขายพันธุ์หมากเตี้ยแท้
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ยแท้
ขายต้นกล้าหมากเตี้ย พันธุ์หมากเตี้ย 
ลูกใหญ่ กินได้ ต้นเตี้ย ราคาถูก 
หน้าเต็ม ราคาถูก รับประกันความพอใจ 
เป็นหมากใช้รับประทานได้ รสชาติดี
ปลูกขายเป็นพืชเศรษฐกิจ
ขายเป็นอาชีพเสริมได้
ต้นกล้าหมากเตี้ย
ต้นหมากเตี้ย
กล้าหมากเตี้ย
พันธุ์หมากเตี้ย
ลูกหมากเตี้ย
ขายลูกหมากเตี้ย
ขายลูกแก่หมากเตี้ย
ขายลูกแบบงอก
ขายต้นแบบหางปลาทู
ขายต้นแบบแตกสองใบ
ขายต้นหมากเตี้ยพร้อมลงดินแตกสามใบ
ลูกแก่หมากเตี้ยพันธุ์แท้ พร้อมเพาะปลูก
หมากเตี้ยกินได้รสชาติดี
ขายได้ทั้งหมาก อ่อน หมากแก่ หมากแห้ง 
แปรรูปส่งนอกได้ รับประกันคุณภาพ
เก็บจากสวนหมากเตี้ยที่ปลูกไว้
ราคาไม่แพงรับประกันคุณภาพ
โทร  0808713258
line 0808713258
มีบริการเก็บเงินปลายทางจ้า


หมากเตี้ยอายุ 3 ปี

หมากเตี้ยอายุ 3 ปี

ส่งลูกแก่หมากเตี้ย






เปิดจำหน่ายลูกแก่หมากเตี้ยแท้
โทร  0808713258
line  0808713258


เยี่ยมชมเวปไซต์ได้จ้า


จัดส่งทั่วประเทศ
ส่งตรงถึงบ้าน
มีบริการเก็บเงินปลายทางจ้า

ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย สุรินทร์
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย นครศรีธรรมราช
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย ศรีสะเกษ
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย สงขลา
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย สระแก้ว
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย ประจวบคีรีขันธ์
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย ลพบุรี
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย ชุมพร
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย ราชบุรี
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย ปราจีนบุรี
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย กระบี่
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย นราธิวาส
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย ระยอง
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย ระนอง
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย พัทลุง
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย ปัตตานี
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย ภูเก็ต
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย กรุงเทพมหานคร
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย ตราด
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย ชลบุรี
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย ฉะเชิงเทรา
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย มหาสารคาม
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย เชียงใหม่
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย สระแก้ว
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย อุบลราชธานี
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย เพชรบุรี
ขายลูกแก่พันธุ์หมากเตี้ย บุรีรัมย์



โทร  0808713258
line  0808713258

มีบริการเก็บเงินปลายทางจ้า

ภูมิปัญญาไทย สมุนไพรหมาก

ลักษณะของต้นหมาก
•ต้นหมาก มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชียเขตร้อน จัดเป็นไม้ยืนต้นจำพวกปาล์ม มีความสูงของต้นประมาณ 10-15 เมตร ลำต้นตั้งตรง เป็นต้นเดี่ยวไม่แตกกิ่งก้าน ลักษณะของลำต้นเป็นรูปทรงกระบอก มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 8-12 เซนติเมตร เปลือกลำต้นเป็นรอยขวั้นรอบ ๆ ขึ้นไปตลอดลำต้น ในระยะแรกจะเจริญเติบโตด้านกว้างและด้านสูง แต่หลังจากหยุดการเจริญเติบโตจะเจริญเติบโตด้านความสูง ต้นหมากมีตายอดส่วนปลายสุดของลำต้น ถ้ายอดตายหมากจะตาย ตายอดจะเป็นที่เกิดของใบหลังจากใบร่วงหล่นจะทิ้งรอยติดของใบไว้ เรียกว่าข้อ ข้อของต้นหมากสามารถคำนวณหาอายุหมากได้ 1 ปี โดยหมากจะมีใบหรือข้อเพิ่มขึ้น 5 ใบ หรือ 5 ข้อ ต้นหมากจะมีเนื้อเป็นเสี้ยนยาวจับตัวกันแน่นบริเวณเปลือกนอกลึกเข้าไปประมาณ 2 เซนติเมตร แต่ส่วนกลางของลำต้นเป็นเสี้ยนไม่อัดแน่น และมีเนื้อไม้อ่อนนุ่มคล้ายกับฟองน้ำ จึงทำให้ต้นหมากเหนียวและสามารถโยกเอนได้มาก ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด เจริญเติบโตได้ดีที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลสูงกว่า
ใบหมาก ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงเวียนหนาแน่นที่ปลายยอด ก้านใบรวมยาวได้ประมาณ 130-200 เซนติเมตร ลักษณะของใบย่อยรูปใบหอก ปลายใบแหลม โคนใบเรียวแคบ ใบอ่อนมีรอยแยก ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2.5-6 เซนติเมตร และยาวประมาณ 50-70 เซนติเมตร แผ่นใบเรียบหนา กาบใบหุ้มลำต้นดอกหมาก (จั่นหมาก) โดยจะออกตามซอกโคนก้านใบหรือกาบนอก ดอกออกรวมกันเป็นช่อขนาดใหญ่ประกอบไปด้วยโคนจั่นยึดติดอยู่ที่ข้อของลำต้น ก้านช่อดอกเป็นเส้นยาวแตกออกโดยรอบแกนกลาง มีกลีบหุ้มช่อขนาดใหญ่ยาวประมาณ 40 เซนติเมตร เป็นมันเงา มีใบประดับหุ้มอยู่ ดอกเป็นแบบแยกเพศอยู่บนต้นเดียวกัน กลีบดอกเป็นสีขาวแกมสีเหลืองมี 6 กลีบ เรียงเป็นชั้น 2 ชั้น สีเขียว ยาวประมาณ 5-6 มิลลิเมตร ดอกมีเกสรเพศผู้ 6 อัน มีเกสรเพศเมียเป็นเส้น 3 เส้นบาง ๆ แผ่ออก ดอกเพศผู้จะมีขนาดเล็กและอยู่ตรงส่วนปลายของก้านช่อดอก ส่วนดอกเพศเมียจะค่อนข้างใหญ่และอยู่ที่โคนก้านช่อดอก ดอกเพศผู้จะใช้เวลาประมาณ 21 วัน หลังจากนั้น 5 วัน ดอกเพศเมียจะเริ่มบานผลหมาก ผลออกเป็นทะลาย ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกลม รูปกลมรี รูปไข่ รูปไข่ปลายแหลม หรือเป็นรูปกระสวยขนาดเล็ก โดยเฉลี่ยแล้วผลที่รวกมันเป็นทะลาย ในหนึ่งทะลายจะมีผลอยู่ประมาณ 10-150 ผล ผิวผลเรียบ มีกลีบเลี้ยงติดเป็นขั้วผล ผลมีขนาดกว้างประมาณ 5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 7 เซนติเมตร ผลดิบหรือผลสดเปลือกผลจะเป็นสีเขียวเข้ม เรียกว่า “หมากดิบ” ผลเมื่อแก่เปลือกผลจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองส้มทั้งผลหรือสีแดงแกมส้ม เรียกว่า “หมากสุก” หรือ “หมากสง” ผลประกอบไปด้วย 4 ส่วน คือ เปลือกชั้นนอก (ส่วนของเปลือกที่เป็นเยื่อบาง ๆ สีเขียว เนื้อเปลือกมีเส้นใยละเอียดเหนียว), เปลือกชั้นกลาง (เป็นเส้นใยหนามากมองเห็นชัด), เปลือกชั้นใน (เป็นเยื่อบาง ๆ ละเอียดติดอยู่กับเนื้อหมาก), และส่วนของเมล็ดหรือเนื้อหมาก เมื่ออ่อนจะนิ่ม เนื้อส่วนผิวจะมีลายเส้นสีเหลืองถึงสีน้ำตาล ส่วนเนื้อจะเป็นสีเหลืองอ่อน ๆ ถึงสีเหลืองเข้มอมแดง ภายในผลมีเมล็ดเดียว มักออกผลในช่วงเดือนพฤษภาคมสรรพคุณของหมาก
1.ผลอ่อนมีรสฝาดหวาน สรรพคุณเป็นยาช่วยทำให้เจริญอาหาร (ผล)[1]
2.เปลือกผลมีสรรพคุณเป็นยาบำรุงธาตุ (เปลือกผล)[3]
3.รากมีรสฝาดเย็น มีสรรพคุณเป็นยาแก้โรคกษัย (ราก)[1]
4.ผลใช้เป็นยาแก้โรเบาหวาน ด้วยการใช้หมากที่กินกับพลูแบบสด 1 ลูก นำมาผ่าเป็น 4 ซีก ต้มกับน้ำ 1 ลิตร จนเดือดหรือประมาณ 10 นาที ใช้ดื่มก่อนอาหารครั้งละครึ่งแก้วเช้า กลางวัน และเย็น เมื่อนำตาลในเลือดลดลงก็ให้นำมาต้มดื่มแบบวันเว้นวันได้ ซึ่งหมากจะมีฝาด จึงช่วยสมานแผลของผู้เป็นโรคเบาหวานให้หายเร็วขึ้นได้อีกด้วย (ผล)[13]
5.ใบมีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้ แก้หวัด (ใบ)[2]
6.รากหมากใช้ผสมกับรากมะพร้าว รากมะกอก รากมะปรางเปรี้ยว รากมะปรางหวาน ลูกกระจับน้ำ ลูกบัวหลวง เกสรบัวหลวง และหัวแห้ว ใช้กินเป็นยาแก้พิษผิดสำแดงไข้ (ราก)[2]
7.รากนำมาต้มกับน้ำเป็นยาแก้พิษร้อนภายใน แก้พิษไข้ร้อน (ราก)[1],[2],[13] หรือจะใช้ใบนำมาต้มกับน้ำกินและอาบเป็นยาแก้ไข้ แก้หวัดก็ได้ (ใบ)[13]
8.หมากมีสรรพคุณในการรักษาโรคมาลาเรีย (ผล)[14]
9.ช่วยขับเหงื่อ (เมล็ด)[4]
10.ดอกเพศผู้ เป็นยาหอม ช่วยแก้กระหายน้ำ (ดอกเพศผู้)[12]
11.ผลมีสรรพคุณช่วยแก้อาการไอ (ผล)[1]
12.ช่วยขับเสมหะ (เนื้อผล)[1],[3]
13.หมากแก่ หรือ หมากสง มีรสฝาดจัด มีสรรพคุณเป็นยาแก้เสมหะในลำไส้เป็นพิษ ช่วยปิดธาตุ และสมานแผล (หมากแก่)[4]
14.ช่วยแก้เมา แก้อาเจียน (ผล)[1]
15.ผลหมากสุกเมื่อนำมาต้มกับน้ำกินแล้วจะช่วยป้องกันอาการของโรคต้อหินหรือความดันภายในลูกตา เพื่อไม่ให้สูงจนผิดปกติได้ (ผล)[14]
16.ตำรายาไทยจะใช้เมล็ดเป็นยารักษาโรคในปาก ช่วยแก้ปากเปื่อย (เมล็ด)[4] ส่วนอีกข้อมูลระบุให้ใช้รากนำมาต้มกับน้ำเดือดใช้อมในขณะยังอุ่นแก้ปากเปื่อย (ราก)[8],[11],[13]
17.รากนำมาต้มเอาน้ำอมช่วยถอนพิษถูกสารปรอทตามฟันได้ดีมาก (ราก)[8],[13]
18.ช่วยทำให้เหงือกและฟันแข็งแรง (เมล็ด)[4]
19.ช่วยบำรุงกระเพาะ (ดอกเพศผู้)[12]
20.เปลือกผลมีรสเผ็ด เป็นยาร้อนเล็กน้อย ออกฤทธิ์ต่อม้ามและกระเพาะลำไส้ ใช้เป็นยาขับลม แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ช่วยขับน้ำในกระเพาะลำไส้ และช่วยในการย่อยอาหาร (เปลือกผล)[3]
21.เนื้อภายในผลมีรสขมฝาดเผ็ดเล็กน้อย เป็นยาร้อนเล็กน้อยออกฤทธิ์ต่อม้าม กระเพาะ และลำไส้ใหญ่ มีสรรพคุณช่วยขับน้ำชื้น ขับสิ่งคั่งค้าง แก้พุงโรแน่นท้อง ขับลมในกระเพาะลำไส้ (เนื้อผล)[3]
22.ตำรับยาแก้กระเพาะอาหารไม่ย่อย แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ด้วยการใช้เนื้อของผลหมาก, เปลือกส้มเขียว, ถิ่งพ้วย อย่างละ 12 กรัม อึ่งแปะ, ดินประสิว, โกฐน้ำเต้า, หัวแห้วหมู และซำเล้ง อย่างละ 6-7 กรัม นำมาต้มกับน้ำหรือนำมาบดเป็นผงปั้นเป็นยาลูกกลอนกิน (เนื้อผล)[3]
23.รากมีสรรพคุณเป็นยาสมานลำไส้ (ราก)[1],[2],[13]
24.ช่วยแก้อาการท้องเดิน (ไม่ใช่บิดหรืออหิวาตกโรค) (ราก)[1] เมล็ดมีสรรพคุณช่วยรักษาท้องเดิน ท้องเสีย (เมล็ด)[4]
25.ช่วยแก้โรคบิด (ราก)[11]
26.ช่วยแก้บิดปวดเบ่ง ปวดแน่นท้อง (เมล็ด)[4]
27.ช่วยแก้บิดทวารหนัก (เนื้อผล)[3]
28.ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ ยาขับพยาธิได้หลายชนิด ไม่ว่าจะเป็น พยาธิตัวกลม พยาธิตัวตืด พยาธิใบไม้ ด้วยการใช้เนื้อในผลหมาก นำมาบดให้เป็นผง โดยใช้ประมาณ 50-60 กรัม นำมาต้มกับน้ำกินในขณะท้องว่าง (เนื้อผล)[3],[4],[14]
29.ช่วยขับพยาธิในถุงน้ำดี ด้วยการใช้เนื้อในผลและเล็บมือนาง อย่างละ 35 กรัม, โกฐน้ำเต้า 6 กรัม, พริกหอม 3 กรัม, บ๊วยดำ 10 กรัม นำมาต้มกับน้ำกินในขณะท้องว่าง (เนื้อผล)[3]
30.ยาพื้นบ้านล้านนาจะใช้เมล็ดหมากผสมกับกาฝากต้นโพ เห็ดกระด้าง และรากมะเขือแจ้ดอกคำ นำมาฝนกับน้ำกินเป็นยารักษาโรคทางเดินปัสสาวะ (เมล็ด)[2],[4]
31.เมล็ดมีสรรพคุณเป็นยาขับปัสสาวะ (เมล็ด)[4] ส่วนอีกข้อมูลระบุว่ารากก็มีสรรพคุณเป็นยาขับปัสสาวะเช่นกัน (ราก)[11]
32.เปลือกผลมีสรรพคุณช่วยลดอาการบวมน้ำตอนช่วงล่างของเอว (เปลือกผล)[3] ส่วนเนื้อผลมีสรรพคุณช่วยลดอาการขาบวมน้ำ (เนื้อผล)[3]
33.ช่วยป้องกันสารพิษทำลายตับ (ใบ)[2],[13] ช่วยล้อมตับดับพิษ ช่วยขับพิษภายในและภายนอก (ใบ)[9],[11]
34.ผลมีสรรพคุณเป็นยาสมานแผล (ผล)[1] เมล็ดมีสรรพคุณเป็นยาสมานทั้งภายนอกและภายใน ช่วยสมานแผลทำให้เลือดหยุดไหล และแผลหายเร็ว ด้วยการใช้เมล็ดหรือเนื้อหมากนำมาปิดบริเวณบาดแผล (เมล็ด)[4],[11]
35.รากมีสรรพคุณช่วยถอนพิษบาดแผล (ราก)[1]
36.เมล็ดใช้เป็นยายับยั้งการไหลของหนองเวลาเป็นแผล (เมล็ด)[4]
37.เมล็ดใช้ฝนทารักษาแผลเน่าเปื่อย แผลเป็น ช่วยฆ่าพยาธิบาดแผล ขจัดรอยแผลเป็น (เมล็ด)[4],[12]
38.เมล็ดใช้ภายนอกเป็นยาทาแก้คัน (เมล็ด)[4] บางข้อมูลระบุว่าใบนำมาต้มกับน้ำอาบจะช่วยแก้เม็ดผดผื่นคันตามตัวได้ (ใบ)[9],[11],[13]
39.ช่วยแก้เกลื้อน (ราก)[1]
40.ใช้รักษาหูด ด้วยการใช้ผลดิบ 1 ผล (ผลหมากที่สุกแก่แต่ยับดิบอยู่) นำมาฝานเอาเนื้อในออกมาเป็นชิ้น ๆ เหมือนการเตรียมหมากเพื่อกิน หลังจากนั้นนำไปย่างไฟให้ร้อน แล้วรีบนำมาพอกทับปิดที่หัวหูดทันที จะช่วยทำให้หัวหูดหลุดลอกออกมาได้ (ผล)[14]
41.ช่วยรักษาโรคน้ำกัดเท้า ด้วยการนำผลหมากมาผ่าเป็น 4 ซัก แล้วใช้ทั้งเปลือกและเนื้อในถูทาบริเวณที่ถูกน้ำกัดเท้าจนเกิดแผลบ่อย ๆ ทุกวัน อาการจะค่อย ๆ ดีขึ้นและหายไปในที่สุด(ผล,เมล็ด)[4],[8]
42.รากนำมาแช่กับเหล้ากินเป็นยาแก้ปวดเมื่อยเส้นเอ็นได้ดีมาก (ราก)[2],[13]
หมายเหตุ : วิธีการใช้ตาม [3] ถ้าเป็นเนื้อในผล ยาแห้ง ให้ใช้ครั้งละ 5-10 กรัม ส่วนเปลือกผล ยาแห้ง ให้ใช้ครั้งละ 6-20 กรัม ถ้าใช้เป็นยาขับถ่ายพยาธิ ให้ใช้เนื้อผลได้ถึง 50-80 กรัม นำมาต้มกับน้ำกินตอนท้องว่างหรือบดเป็นผงกิน[3]
ประโยชน์ของหมาก
1.เมล็ดใช้เป็นยาถ่ายพยาธิในสัตว์ เช่น สุนัข ไก่ชน และแกะ ด้วยการนำผลแก่มาบดให้สัตว์กิน[2],[4],[11]
2.ใช้กำจัดหนอน ในเวลาที่วัวหรือควายเป็นแผลมีหนอน จะทำให้หนอนตายหมด[11]
3.ส่วนยอดอ่อนของลำต้นสามารถนำมารับประทานเป็นอาหารจำพวกผักได้ ส่วนจั่นหมากหรือดอกหมากเมื่อยังอ่อนอยู่ก็ใช้รับประทานเป็นอาหารได้เช่นกัน[7],[11]
4.ช่อดอกซึ่งมีกลิ่นหอมจะถูกนำมาใช้ในงานแต่งงานและงานศพ[7]
5.ใบหมากหรือทางหมาก (รวมกาบ) มีประโยชน์อย่างมากต่อความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันของชาวสวน เพราะชาวสวนจะใช้ก้านทางที่มีใบมาผูกห้อยตรงช่องทางเข้าออกของซึ่งเป็นที่จับถ่ายของชาวสวน เพราะช่วยบังตาได้เป็นอย่างดี และชาวสวนยังใช้ทางหมากแห้งนำมาทำเป็นเสวียนขนาดใหญ่สำหรับรองรับกระทะใบบัวขนาดใหญ่ในขณะที่กวนน้ำตาลองุ่นให้เป็นน้ำตาลปี๊บอีกด้วย[10]
6.กาบใบนำมาใช้ประโยชน์ในด้านการทำภาชนะ เครื่องจักสาน หรือวัสดุห่อหุ้มสิ่งของได้ ปลอกมีด ในสมัยก่อนเด็ก ๆ จะนำมาทำเป็นของเล่น คือ รถลาก โดยให้เด็กคนหนึ่งนั่งลงบนกาบใบ มือจับไว้ที่โคนทาง แล้วให้เด็กอีกคนหนึ่งจับที่ปลายทางส่วนที่เหลือใบไว้ แล้ววิ่งลากไป นอกจากนี้ยังสามารถนำมาดัดหรือเจียนทำเป็นเนียนสำหรับขูดน้ำพริกที่สากและคดน้ำพริกจากครก ซึ่งคุณสมบัติที่ดีมากของเนียนก็คือ ความนิ่งของกาบหมากนั่นเอง และกาบหมากยังสามารถนำมาทำเป็นที่จับกระทะเคี่ยวตาล เวลายกขึ้นยกลงจากเตาตาลแทนการใช้ผ้าได้อีกด้วย[7],[10],[11]
7.กาบหมากยังสามารถนำมาใช้ทำพัดสำหรับพัดคลายร้อนในหน้าร้อนได้เป็นอย่างดี โดยนำกาบใบมาเจียนให้เป็นรูปวงกลมหรือรูปวงรี มีที่สำหรับมือจีบยื่นออกมา ซึ่งก่อนใช้จะต้องใช้ก้นของครกตำข้าวทับให้แบนเรียบเสียก่อน[10]
8.เนื้อในเมล็ดสามารถนำมาใช้ในการผลิตสีย้อมผ้าได้[7]
9.เปลือกผลสามารถนำมาใช้ทำเป็นเชื้อเพลิงได้[7]
10.ลำต้นสามารถนำมาใช้ในการก่อสร้างได้ เช่น ใช้ทำสะพาน เฟอร์นิเจอร์ ทำเสาตอม่อ ฟากสับ แม่บันได ลูกบันได ส่วนโคนแก่ใช้ทำชั้นพะองเพื่อทอดทำสะพานข้ามกระโดง ท้องร่อง และเมื่อนำลำต้นมาทะลวงไส้ออก จะสามารถใช้เป็นท่อระบายน้ำได้ นอกจากนี้ยังใช้ทำไม้คานแบกของ ทำคร่าวสำหรับยึดฝาฟากสับ และยังใช้ต้นหมากนำมากั้นคันดินและทำเป็นตอม่อเพื่อป้องกันคันดินที่กั้นน้ำเข้าสวนพังได้อีกด้วย[7],[10],[11]
11.ปัจจุบันมีการปลูกต้นหมากไว้เป็นไม้ประดับทั่วไป เนื่องจากมีลำต้นและทรงพุ่มที่ดูสวยงาม[7]
12.ชาวไทยนิยมกินหมากร่วมกับพลูและปูนแดง โดยมากจะเอาใบพลูที่ไม่แก่หรืออ่อนจนเกินไปมาทาด้วยปูนแดง แล้วใช้กินกับหมากที่หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ เคี้ยวด้วยกัน ก็จะมีน้ำหมากสีแดง ซึ่งจะต้องบ้วนทิ้ง (การกินหมากจะทำให้ฟันดำและปากแดง เมื่อเคี้ยวติดต่อกันหลายปีฟันจะเปลี่ยนเป็นสีดำ) ในสมัยก่อนชาวไทยทั้งชายและหญิงตั้งแต่วัยรุ่นจนถึงวัยชราก็ล้วนแต่กินหมากกันทั้งสิ้น และการเคี้ยวหมากหลังการรับประทานอาหาร จะช่วยทำให้ลมหายใจหอมสดชื่น ช่วยดับกลิ่นปาก แก้แมงกินฟัน ช่วยทำให้เหงือกแข็งแรง และช่วยกระตุ้นการทำงานของต่อมน้ำลาย กระตุ้นการสร้างน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร ทำให้มีการย่อยอาหารที่ดีขึ้น และยังช่วยเพิ่มความอยากอาหารได้อีกด้วย (แต่หมากบางต้นเมื่อนำมากินแล้วจะทำให้เกิดอาการวิงเวียน ใจสั่น และขับเหงื่อ เรียกว่า “หมากยัน”)[7],[8],[11]
13.ในยุโรปมีการใช้ผลหมากเป็นส่วนผสมของยาสีฟัน เพราะเชื่อว่าจะทำให้ฟันขาวขึ้นได้[11]
14.เมื่อการกินหมากกลายเป็นธรรมอย่างหนึ่ง จึงทำให้เกิดการพัฒนาไปสู่วัฒนธรรมหมากอย่างจริงจัง นั่นก็คือ การใช้หมากเป็นเครื่องต้อนรับแขก (แต่ในปัจจุบันคนไทยกินหมากน้อยลงมาก), การนำมาใช้ในพิธีทางศาสนา (เช่น พิธีกรานกฐินเมื่อออกพรรษา), ใช้หมากในพิธีไหว้ครูและพิธีบายศรีสูขวัญ หรือนำมาจัดเป็นหมากพลูไว้เป็นชุดขายเพื่อนำไปเป็นเครื่องบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ ส่วนในต่างประเทศอย่างมาเลเซียจะมีประเพณีที่ว่า หากฝ่ายหญิงเคี้ยวหมากไปพร้อม ๆ กับฝ่าย นั่นแสดงว่าเธอยินดีที่จะเป็นคู่ครอง ส่วนคนจีนไหหลำจะเชื่อว่า เจ้าสาวที่จะมาไหว้ว่าที่แม่สามีจะต้องนำหมากพลูมากไหว้ ส่วนคนญวนจะมีประเพณีที่ว่าคู่บ่าวสาวจะต้องกินหมาก 120 คำให้หมด ถึงจะแต่งงานกันได้ ส่วนคนพม่านั้นถือว่า สาวใดยื่นหมากให้ฝ่ายชาย นั่นหมายถึงเธอกำลังทอดสะพานให้แก่ฝ่ายชาย เป็นต้น[7],[10],[15]
15.คุณค่าทางโภชนาการของผลหมากสุกที่ยังสดต่อ 100 กรัม ประกอบไปด้วยน้ำ 21-30 กรัม, คาร์โบไฮเดรต 35-40 กรัม, ไขมัน 5-10 กรัม, ใยอาหาร 11-15 กรัม, โพลีฟีนอล 11-18 กรัม มีสารประกอบอัลคาลอยด์ 0.1-0.2%[7]
16.ในด้านการนำมาใช้ทางอุตสาหกรรม ผลหมากเมื่อนำมาสกัดจะได้ไขมัน เมือก ยาง และสาร Arecoline ซึ่งมีสารแทนนินสูง จึงสามารถนำมาใช้ในทางอุตสาหกรรมได้หลายชนิด เช่น การใช้ทำสีต่าง ๆ ใช้ย้อมแห อวน ทำให้แหหรืออวนนิ่มอ่อนตัว เส้นด้ายไม่เปื่อยเร็ว ช่วยยืดอายุการใช้งานได้นานขึ้น และยังใช้สกัดเป็นน้ำยาฟอกหนัง ทำให้หนังนิ่มมีสีสวย หรือใช้สกัดทำเป็นยารักษาโรค เช่น ยาขับพยาธิในสัตว์ ยาแก้ท้องเสีย ท้องเดิน ยาขับปัสสาวะ ยาสมานแผล ยาขับพิษ ยาทาแก้คัน น้ำมันนวด และยาแก้ปากเปื่อย เป็นต้น[11]
17.หมากเป็นพืชที่มีความเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมประเพณีพื้นบ้านความเป็นอยู่ของคนไทยในอดีต เพราะคนไทยนิยมกินหมากตั้งแต่เจ้านายถึงชาวบ้านคนธรรมดา แต่ในปัจจุบันคนนิยมกินหมากลดน้อยลงมาก หมากจึงมีบทบาทในแง่ทางอุตสาหกรรมมากกว่า เพราะมีการส่งออกเพื่อจำหน่ายต่างประเทศคิดเป็นมูลค่าหลายร้อยล้านบาทต่อปี หมากจึงเป็นพืชเศรษฐกิจที่น่าสนใจอย่างหนึ่ง เนื่องจากเป็นพืชที่เพาะปลูกง่าย ดูแลรักษาไม่ยาก โรคและแมลงรบกวนน้อย การลงทุนไม่สูงนัก สามารถทำรายได้อย่างสม่ำเสมอเป็นเวลานานนับสิบปี
หมากกับมะเร็งปาก
คนทั่วโลกนับร้อยล้านคนกินหมาก (โดยเฉพาะทางเอเชียใต้) หลายคนติดหมากถึงขนาดถ้าไม่ได้เคี้ยวหมาก ร่างกายจะไม่มีแรง ระทดระทวย และปากหาวบ่อย เพราะเวลากินหมากเข้าไปแล้วคนกินจะรู้สึกมีความสุข เนื่องจากชีพจรเต้นเร็วและแรง ร่างกายมีอุณหภูมิสูงขึ้น ในอดีตนั้นหมากเป็นสัญลักษณ์ของความนับถือและมิตรภาพ อีกทั้งการเคี้ยวหมากในสมัยก่อนก็ถือเป็นแฟชั่นอย่างหนึ่งที่ได้รับความนิยมมาก แต่ภายหลังประเพณีการกินหมากในไทยได้ถูกห้ามในสมัยของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ทั้งนี้ก็เพื่อให้คนไทยก้าวสู่ความเป็นอารยชน แม้จนถึงวันนี้การกินหมากยังมีให้เห็นกันอยู่ก็ตาม และการปลูกหมากก็ยังเป็นการปลูกเพื่อเป็นพืชส่งออก
ในปัจจุบันแพทย์ได้พบหลักฐานว่า การกินหมากมากเป็นประจำจะทำให้คนกินเป็นโรคมะเร็งปาก เพราะหมากมีสารก่อมะเร็งที่เหมือนกับบุหรี่หลายตัว และจากการสำรวจยังพบว่า การกินหมากจะเพิ่มโอกาสการเป็นโรคหัวใจ โรคหืด และโรคเบาหวานได้ โดยเฉพาะ 90% ของคนที่กินหมากมักจะเป็นมะเร็งปาก เนื่องจากพิษหมากไปทำให้เยื่อเมือกในเซลล์ปากเปลี่ยนแปลง จนในที่สุดแก้มจะแข็ง ทำให้ผู้ป่วยอ้าปากไม่ได้ เมื่อเป็นเช่นนี้รัฐบาลในหลาย ๆ ประเทศจึงได้มีการรณรงค์ให้คนลดการกินหมาก ซึ่งการดำเนินการเช่นนี้มีผลทำให้สถิติการเป็นโรคมะเร็งปากในบางประเทศลดลง หลังจากที่ประชาชนเริ่มเข้าใจแล้วว่าไม่ควรกินหมาก จึงทำให้บางประเทศออกกฎหมายห้ามผลิตสินค้าที่มีหมากเจือปน และออกกฎหมายเพื่อจำกัดการผลิตหมาก
ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.lukhamhan.ac.th/course/blog/5137


หมากเตี้ย ใช้พื้นที่น้อย เก็บผลผลิตสะดวก

หมากเป็นพืชที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมประเพณีพื้นบ้านและความเป็นอยู่ของคนไทย ในอดีตคนไทยนิยมกินหมากตั้งแต่เจ้านายถึงชาวบ้านธรรมดา มักมีเชี่ยนหมากไว้รับแขกผู้มาเยี่ยมเยือน ปัจจุบันคนรุ่นใหม่ไม่นิยมกินหมาก

แต่ยังมีการนำไปใช้ในอุตสาหกรรม โดยหมากแห้งใช้ในอุตสาหกรรมฟอกหนัง ฟอกเส้นใย และทำยารักษาโรค และการใช้บริโภคในลักษณะของสมุนไพร โดยผลหมากสามารถใช้เป็นยาสมุนไพรในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เช่น ใช้สมานแผล แก้ท้องเสีย รักษาโรคเหงือกและฟัน เป็นต้น

ที่ผ่านมาประเทศไทยมีการส่งออกหมากทั้งรูปหมากสดและหมากแห้ง คิดเป็นมูลค่าหลายร้อยล้านบาท ปัจจุบันไต้หวันคือผู้นำเข้าหมากจากประเทศไทย หลังจากที่เข้มงวดการนำเข้าหมากไทยเมื่อปี 2547 ทำให้คาดหมายว่าราคาหมากในประเทศจะมีแนวโน้มดีขึ้น หมากจึงเป็นพืชเศรษฐกิจที่น่าสนใจ แถมปลูกง่าย การดูแลรักษาไม่ยุ่งยาก โรคแมลงรบกวนน้อย ลงทุนไม่สูง ทำรายได้สม่ำเสมอต่อเนื่องเป็นเวลานานนับสิบปี หลังจากปลูกเพียงครั้งเดียว

และหมากเตี้ยก็เป็นหมากอีกพันธุ์หนึ่งที่กำลังนิยมปลูกในปัจจุบันเนื่องจากใช้พื้นที่ปลูกน้อยและเก็บเกี่ยวสะดวกเพราะต้นเตี้ย สำหรับหมากเตี้ยบางพื้นที่เรียกว่าหมากค่อม เป็นไม้ยืนต้นลำต้นเดี่ยวไม่แตกกอเส้นผ่าศูนย์กลางลำต้นประมาณ 5-6 นิ้ว มีก้านใบสั้นเป็นพุ่ม ใบติดเป็นแผ่น ก้านใบชิดลำต้น ระยะแรกจะมีการเจริญทางลำต้น โตจะเป็นพุ่ม เจริญเติบโตด้านความสูง รูปทรงสวย สามารถปลูกเป็นกลุ่มหลาย ๆ ต้นได้

หมากเตี้ยมีข้อสั้นสูงช้ามาก มีลูกเล็กกว่าพันธุ์หมากสูงเล็กน้อย หนึ่งทะลายจะมีผลประมาณ 10-150 ผล ติดผลเป็นทะลายห้อยจากลำต้น ผลอ่อนสีเขียวเข้ม เรียกหมากดิบ ผลแก่ผิวเปลือกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอมส้มทั้งผลเรียกหมากสุกหรือหมากสง

เป็นพืชที่ชอบความชุ่มชื้นแต่ต้องไม่มีน้ำขัง แต่ความชื้นต้องพอ เจริญเติบโตได้ดีตั้งแต่ระดับสูงกว่าระดับน้ำทะเล 700 เมตร เป็นพื้นที่โล่งแจ้ง มีแสงแดด ดินตะกอน ดินเหนียวมีอินทรียวัตถุสูง ระบายน้ำดี มีหน้าดินลึก 1 เมตร ถ้าน้ำอุดมสมบูรณ์จะให้ผลดกมีผลขนาดใหญ่

ฤดูปลูกที่เหมาะจะอยู่ในช่วงพฤษภาคม สิงหาคม ระยะปลูกมี 2 แบบ คือ 1. แบบยกร่อง ระหว่างแถวขึ้นอยู่กับความกว้างของร่อง ระหว่างต้นห่าง 35 เมตร ถ้าร่องกว้าง 3 เมตร จะได้หมากไร่ละ 100170 ต้น 2. แบบพื้นราบ ปลูกพื้นราบ ถ้าระยะปลูก 2X2 จะได้ต้นหมาก 400 ต้นต่อ 1 ไร่ ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ 4 ครั้งต่อปี ในอัตรา 5001,000 กิโลกรัมต่อพื้นที่ 1 ไร่ การใส่ปุ๋ยอินทรีย์จะทำให้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น แต่ไม่ควรใส่ขณะที่ลูกหมากอ่อน ๆ เพราะอาจจะทำให้ผลร่วงง่ายได้

เมื่อหมากอายุ 1 ปี จะเริ่มย่างปล้อง ลำต้นยังอ่อนอยู่จะมีสีเขียว ถ้าถูกแดดเผาจะทำให้ต้นแห้งไม่เจริญเติบโตและตายได้ การหุ้มจะหุ้มหลังจากหมดฤดูฝนด้วยทางมะพร้าวหุ้มปิดลำต้นแล้วมัดด้วยเชือกให้แน่น ไม่ควรหุ้มต้นตลอดจะเป็นที่สะสมของโรคแมลงหมากจะให้ผลเกือบตลอดปี โดยหมากปีจะสามารถเริ่มเก็บเกี่ยวได้ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม ส่วนช่วงผลผลิตมากจะอยู่ที่ช่วงเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคม

ส่วนหมากทะวายสามารถเก็บเกี่ยวได้ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงพฤษภาคม ซึ่งหมากทะวายจะมีราคาที่แพงกว่าหมากปี.

ขอบคุณที่มาจากเพจ https://www.msn.com/th-th/lifestyle/daily-roundup/หมากเตี้ย-ใช้พื้นที่น้อย-เก็บผลผลิตสะดวก/ar-AAuUJ2v


หมากเตี้ย ใช้พื้นที่น้อย เก็บผลผลิตสะดวก

22 ม.ค. 2561  1,267  0
หมากเตี้ย ใช้พื้นที่น้อย เก็บผลผลิตสะดวก
หมากเตี้ย ใช้พื้นที่น้อย เก็บผลผลิตสะดวก

หมากเป็นพืชที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมประเพณีพื้นบ้าน
และความเป็นอยู่ของคนไทย ในอดีตคนไทยนิยมกินหมาก
ตั้งแต่เจ้านายถึงชาวบ้านธรรมดา 
มักมีเชี่ยนหมากไว้รับแขกผู้มาเยี่ยมเยือน 
ปัจจุบันคนรุ่นใหม่ไม่นิยมกินหมาก
แต่ยังมีการนำไปใช้ในอุตสาหกรรม 
โดยหมากแห้งใช้ในอุตสาหกรรมฟอกหนัง 
ฟอกเส้นใย และทำยารักษาโรค และการใช้บริโภคในลักษณะของสมุนไพร 
โดยผลหมากสามารถใช้เป็นยาสมุนไพรในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น 
เช่น ใช้สมานแผล แก้ท้องเสีย รักษาโรคเหงือกและฟัน เป็นต้น
ที่ผ่านมาประเทศไทยมีการส่งออกหมากทั้งรูปหมากสด
และหมากแห้ง คิดเป็นมูลค่าหลายร้อยล้านบาท 
ปัจจุบันไต้หวันคือผู้นำเข้าหมากจากประเทศไทย 
หลังจากที่เข้มงวดการนำเข้าหมากไทยเมื่อปี 2547 
ทำให้คาดหมายว่าราคาหมากในประเทศจะมีแนวโน้มดีขึ้น 
หมากจึงเป็นพืชเศรษฐกิจที่น่าสนใจ แถมปลูกง่าย 
การดูแลรักษาไม่ยุ่งยาก โรคแมลงรบกวนน้อย 
ลงทุนไม่สูง ทำรายได้สม่ำเสมอต่อเนื่องเป็นเวลานานนับสิบปี 
หลังจากปลูกเพียงครั้งเดียว
และหมากเตี้ยก็เป็นหมากอีกพันธุ์หนึ่ง
ที่กำลังนิยมปลูกในปัจจุบันเนื่องจากใช้พื้นที่ปลูกน้อย
และเก็บเกี่ยวสะดวกเพราะต้นเตี้ย 
สำหรับหมากเตี้ยบางพื้นที่เรียกว่าหมากค่อม 
เป็นไม้ยืนต้นลำต้นเดี่ยวไม่แตกกอเส้นผ่าศูนย์กลาง
ลำต้นประมาณ 5-6 นิ้ว มีก้านใบสั้นเป็นพุ่ม ใบติดเป็นแผ่น 
ก้านใบชิดลำต้น ระยะแรกจะมีการเจริญทางลำต้น 
โตจะเป็นพุ่ม เจริญเติบโตด้านความสูง รูปทรงสวย 
สามารถปลูกเป็นกลุ่มหลาย ๆ ต้นได้
หมากเตี้ยมีข้อสั้นสูงช้ามาก 
มีลูกเล็กกว่าพันธุ์หมากสูงเล็กน้อย หนึ่งทะลายจะมีผลประมาณ 10-150 
ผล ติดผลเป็นทะลายห้อยจากลำต้น ผลอ่อนสีเขียวเข้ม 
เรียกหมากดิบ ผลแก่ผิวเปลือกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอมส้ม
ทั้งผลเรียกหมากสุกหรือหมากสง
เป็นพืชที่ชอบความชุ่มชื้นแต่ต้องไม่มีน้ำขัง 
แต่ความชื้นต้องพอ เจริญเติบโตได้ดีตั้งแต่ระดับสูงกว่าระดับน้ำทะเล 700 เมตร 
เป็นพื้นที่โล่งแจ้ง มีแสงแดด ดินตะกอน 
ดินเหนียวมีอินทรียวัตถุสูง ระบายน้ำดี มีหน้าดินลึก 1 เมตร 
ถ้าน้ำอุดมสมบูรณ์จะให้ผลดกมีผลขนาดใหญ่
ฤดูปลูกที่เหมาะจะอยู่ในช่วงพฤษภาคม –สิงหาคม 
ระยะปลูกมี 2 แบบ คือ 
1. แบบยกร่อง ระหว่างแถวขึ้นอยู่กับความกว้างของร่อง 
ระหว่างต้นห่าง 3–5 เมตร ถ้าร่องกว้าง 3 เมตร 
จะได้หมากไร่ละ 100–170 ต้น 
2. แบบพื้นราบ ปลูกพื้นราบ ถ้าระยะปลูก 2X2 
จะได้ต้นหมาก 400 ต้นต่อ 1 ไร่ ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ 4 ครั้งต่อปี 
ในอัตรา 500–1,000 กิโลกรัมต่อพื้นที่ 1 ไร่ 
การใส่ปุ๋ยอินทรีย์จะทำให้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น 
แต่ไม่ควรใส่ขณะที่ลูกหมากอ่อน ๆ เพราะอาจจะทำให้ผลร่วงง่ายได้
เมื่อหมากอายุ 1 ปี จะเริ่มย่างปล้อง ลำต้นยังอ่อนอยู่จะมีสีเขียว 
ถ้าถูกแดดเผาจะทำให้ต้นแห้งไม่เจริญเติบโตและตายได้ 
การหุ้มจะหุ้มหลังจากหมดฤดูฝนด้วยทางมะพร้าว
หุ้มปิดลำต้นแล้วมัดด้วยเชือกให้แน่น 
ไม่ควรหุ้มต้นตลอดจะเป็นที่สะสมของโรคแมลงหมากจะให้ผลเกือบตลอดปี 
โดยหมากปีจะสามารถเริ่มเก็บเกี่ยวได้
ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม 
ส่วนช่วงผลผลิตมากจะอยู่ที่ช่วงเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคม
ส่วนหมากทะวายสามารถเก็บเกี่ยวได้ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงพฤษภาคม 
ซึ่งหมากทะวายจะมีราคาที่แพงกว่าหมากปี.
... อ่านต่อที่ : https://www.dailynews.co.th/agriculture/622354
..............................................
ข่าวเกษตรและสหกรณ์ทั่วไทย จาก สนง.กษ.ปน. ออนไลน์
ที่มา : เดลินิวส์ออนไลน์


กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ : www.moac.go.th

ความรู้ทั่วไปในการให้ปุ๋ยต้นหมากเตี้ย
ในอดีตการปลูกหมากเตี้ยมักจะไม่ให้ปุ๋ยปล่อยให้เติบโตเองตามธรรมชาติ 
หรือการปลูกหมากเตี้ยเป็นพืชแซมในสวนเกษตรก็มักจะให้หมากเตี้ยพลอยได้ปุ๋ยจากการให้ปุ๋ยพืชชนิดอื่น 
การให้ปุ๋ยหมากเตี้ยเพื่อเร่งการเจริญเติบโตและการออกผลเร็วขึ้น  
การให้ปุ๋ยหมากเตี้ยจะทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น ควรให้ปุ๋ยหลังจากเก็บเกี่ยวผลหมากเตี้ยหมดแล้ว 
ถ้าใส่ปุ๋ยขณะที่ผลยังอ่อนอยู่ อาจจะทำให้ผลร่วง ควรใส่ปุ๋ยตรงกลางระหว่างต้นหมากเตี้ย 
เพราะรากที่สามารถดูดน้ำและแร่ธาตุอาหารได้จะอยู่ที่ปลายรากห่างจากโคนต้นหมากเตี้ย ปุ๋ยที่ใช้มีดังนี้
1.ในหมากเตี้ยต้นเล็ก ให้ปุ๋ย 46-0-0 ในอัตรา 25-50 กิโลกรัมต่อไร่/ปี
2.ในหมากเตี้ยโตและให้ผลแล้ว ใช้ปุ๋ยสูตรเสมอ 15-15-15 หรือ 13-13-21 หรือ 12-12-12-17-2 ปีละ 1-4 ครั้ง
ในอัตรา 50-100 กิโลกรัม/ปี/ไร่ เมื่อใส่ปุ๋ยแล้วพรวนดินตื้นๆ กลบปุ๋ยและรดน้ำ
3.ให้ปุ๋ยอินทรีย์เสริมปีละ 1-2 ครั้งก็จะช่วยรักษาคุณภาพดินในแปลงหมากเตี้ยไม่ให้ดินแข็งหรือดินตาย

พื้นที่จัดส่งทั่วประเทศมีบริการเก็บเงินปลายทาง
หมากเตี้ยกาฬสินธุ์ หมากเตี้ยเชียงราย หมากเตี้ยเชียงใหม่ หมากเตี้ยน่าน หมากเตี้ยพะเยา หมากเตี้ยแพร่ หมากเตี้ยแม่ฮ่องสอนหมากเตี้ยลำปาง หมากเตี้ยลำพูนหมากเตี้ยอุตรดิตถ์ หมากเตี้ยขอนแก่น หมากเตี้ยชัยภูมิ หมากเตี้ยจังหวัดนครพนม หมากเตี้ยนครราชสีมา หมากเตี้ยบึงกาฬ หมากเตี้ยบุรีรัมย์ หมากเตี้ยมหาสารคาม หมากเตี้ยมุกดาหาร หมากเตี้ยยโสธร หมากเตี้ยร้อยเอ็ด หมากเตี้ยเลย หมากเตี้ยสกลนคร หมากเตี้ยสุรินทร์ หมากเตี้ยจังหวัดศรีสะเกษ หมากเตี้ยหนองคาย หมากเตี้ยหนองบัวลำภู
หมากเตี้ยอุดรธานี หมากเตี้ยอุบลราชธานี หมากเตี้ยอำนาจเจริญ หมากเตี้ยจังหวัดกำแพงเพชร หมากเตี้ยชัยนาท หมากเตี้ยนครนายก หมากเตี้ยนครปฐม หมากเตี้ยนครสวรรค์ หมากเตี้ยนนทบุรี หมากเตี้ยปทุมธานี หมากเตี้ยพระนครศรีอยุธยา หมากเตี้ยพิจิตร หมากเตี้ยพิษณุโลก หมากเตี้ยเพชรบูรณ์ หมากเตี้ยลพบุรี หมากเตี้ยสมุทรปราการ หมากเตี้ยสมุทรสงคราม หมากเตี้ยสมุทรสาคร หมากเตี้ยสิงห์บุรี หมากเตี้ยสุโขทัย หมากเตี้ยสุพรรณบุรี หมากเตี้ยสระบุรี  หมากเตี้ยอ่างทอง หมากเตี้ยอุทัยธานี 
หมากเตี้ยจันทบุรี หมากเตี้ยฉะเชิงเทรา  หมากเตี้ยชลบุรี หมากเตี้ยตราด  หมากเตี้ยปราจีนบุรี  หมากเตี้ยระยอง  หมากเตี้ยสระแก้ว หมากเตี้ยกาญจนบุรี หมากเตี้ยตาก หมากเตี้ยประจวบคีรีขันธ์ หมากเตี้ยเพชรบุรี หมากเตี้ยราชบุรี หมากเตี้ยกระบี่ หมากเตี้ยชุมพร หมากเตี้ยตรัง หมากเตี้ยนครศรีธรรมราช หมากเตี้ยนราธิวาส หมากเตี้ยปัตตานี หมากเตี้ยพังงา หมากเตี้ยพัทลุง หมากเตี้ยจังหวัดภูเก็ต หมากเตี้ยระนอง  หมากเตี้ยสตูล หมากเตี้ยสงขลา หมากเตี้ยสุราษฎร์ธานี หมากเตี้ยยะลา 


โทร  0808713258
line  0808713258